วันอังคารที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2559
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
กฏข้อที่ 1 "วัตถุคงสภาพการเคลื่อนที่เดิม ถ้าไม่มีแรงมากระทำ หรือ ผลรวมของแรงที่มากระทำมีค่าเป็นศูนย์" หรือกล่าวได้ว่า วัตถุจะรักษาสภาพนิ่ง ถ้าเดิมอยู่นิ่ง และเคลื่อนที่เป็นแนวตรงด้วยอัตราเร็วสม่ำเสมอถ้าไม่มีแรงมากระทำ หรือแรงลัพธ์ของแรงที่มากระทำ อ่านเพิ่มเติม
อัตราเร่ง
กรณีที่วัตถุเคลื่อนที่อัตราเร็วที่ไม่สม่ำเสมอ หรือความเร็วไม่สม่ำเสมอ วัตถุมีค่าความเร่ง
ความหมายของอัตราเร่งหรือความเร่ง คือ อัตราเร็วหรือ ความเร็วที่เปลี่ยนไปในหนึ่งหน่วยเวลาที่วัตถุมีการเคลื่อน อ่านเพิ่มเติม
อัตราเร็ว
ในขณะที่วัตถุมีการเคลื่อนที่ ได้ระยะทางและการกระจัดในเวลาเดียวกัน และต้องใช้เวลาในการเคลื่อนที่ จึงทำให้เกิดปริมาณสัมพันธ์ขึ้น ปริมาณดังกล่าวคือ
1.อัตราเร็ว คือ ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา จัดเป็นเปริมาณสเกลลาร์ หน่วยในระบบเอสไอ มีหน่วยเป็น เมตร/วินาที
2.ความเร็ว คือ ขนาดของการกระจัดที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา จัดเป็นปริมาณเวกเตอร์ ใ อ่านเพิ่มเติม
การบวกเวกเตอร์
การบวกเวกเตอร์ ทำได้ 2 วิธี คือ
1.วิธีวาดรูป
2.วิธีคำนวณ
วิธีวาดรูป เป็นวิธีการเขียนรูปเวกเตอร์ตัวตั้งด้วยลูกศรให้มีขนาดและทิศทางตามที่กำ อ่านเพิ่มเติม ปริมาณในทางฟิสิกส
วิทยาศาสตร์เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับความจริงที่สามารถพิสูจน์ได้ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ นำความรู้ที่ได้จากการศึกษาทดลอง จดบัทึกมารวบรวมเป็นกฎ ทฤษฎี เพื่อเป็นความรู้ในการอธิบายปรากฎการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น ซึ่งการศึกษาวิทยาศาสร์เป็นการศึกษา2 ส่วนคือ เชิงคุณภาพ เป็นการศึกษาบรรยา อ่านเพิ่มเติม
การคูณและหารเลขนัยสำคัญ
การคูณและการหารเลขนัยสำคัญ ให้ใช้วิธีการคูณและหารเหมือนทางคณิตศาสตร์ก่อน แล้วพิจารณาผลลัพธ์ที่ได้ โดยผลลัพธ์จะต้องมีจำนวนเลขนัยสำคัญเท่ากับจำนวนเลขนัยสำคัญของตัวคูณหรือตัวหารที่น้อยที่สุด เช่น
(1) 432.10 x 5.5 = 2376.55
ปริมาณ 432.10 มีจำนวนเลขนัยสำคัญ 5 ตัว
5.5 มีจำนวนเลขนัยสำคัญ 2 ตัว
ผลลัพธ์ 2376.55 มีจำนวนเลขนัยสำคัญ 6 ตัว แต่ผลลัพธ์ที่ได้ จะมีจำนวนเลขนัย อ่านเพิ่มเติม
การบวกลบเลขนัยสำคัญ
การบวกและการลบเลขนัยสำคัญ ให้บวกลบแบบวิธีการทางคณิตศาสตร์ก่อน แล้วพิจารณาผลลัพธ์ที่ได้ โดยผลลัพธ์ของเลขนัยสำคัญที่ได้ต้องมีตำแหน่งทศนิยมละเอียดเท่ากับปริมาณที่มีความละเอียดน้อยที่สุด เช่น
(1) 2.12 + 3.895 + 5.4236 = 11.4386
ปริมาณ 2.12 มีความละเอียดถึงทศนิยมตำแหน่งที่ 2
3.895 มีความละเอียดถึงทศนิยมตำแหน่งที่ 3
5.4236 มีความละเอียดถึงทศนิยมตำแหน่งที่ 4
ผลลัพธ์ 11.4236 มีความละเอียดถึงทศนิยมตำแหน่งที่ 4 ละเอียดมากกว่าเครื่องมือวัด อ่านเพิ่มเติม
เลขนัยสำคัญ
หลักการนับเลขนัยสำคัญ
- ถ้าอยู่ในรูปจำนวนเลขทศนิยมให้เริ่มนับตัวเลขแรกที่เป็นเลขโดด (1 ถึง 9) ตัวเลขถัดไปนับหมดทุกตัว เช่น 0.561, 5.02, 10.00, 0.50 มีจำนวนเลขนัยสำคัญ 3, 3, 2, 4 และ 2 ตัว ตามลำดับ
- ถ้าวอยู่ในรูป เมื่อ (1 A < 10) และ n เป็นเลขจำนวนเต็ม ให้พิจารณาที่ค่า A เท่านั้นโดยใช้หลักเหมือนกับข้อ 1 โดยไม่ต้องคำนึงถึง n เช่น , (หรือ ), (หรือ ), (หรือ ) มีเลขนัยสำคัญ 2, 2, 4 และ 2 ตัว ตามลำ อ่านเพิ่มเติม
คำอุปสรรค
คำอุปสรรค prefixes เมื่อค่าในหน่วยฐานหรือหน่วยอนุพัทธ์น้อยหรือมากเกินไปเราอาจเขียนค่านั้นอยู่ในรูปตัวเลขคูณ ด้วย ตัวพหุคูณ อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)